หน่วยที่ 9 น้ำมันเกียร์และจาระบี

9.1 กระบวนการผลิตและคุณสมบัติน้ำมันเกียร์ 

9.1.1 กรกระบวนการผลิตน้ำมันเกียร์และน้ำมันเฟือง

ท้ายเป็น 2 ขั้นตอนด้วยกันคือกระบวนการผลิตน้ำมันเกียร์และน้ำมันเฟืองท้ายเหมือนกับกระบวนการผลิตน้ำมันเครื่องแบ่ง 2ขั้นตอน 

1)ขั้นตอนการผลิตน้ำมันเกียร์และน้ำมันเฟืองท้ายสำเร็จรูปเป็น

2)ขั้นตอนของการผสมน้ำมันหล่อลื่นแล้วกลั่นต่อในหอกลั่นขั้นตอนการผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานซึ่งจะเป็นขั้นตอนการกลั่น

     น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานในโรงกลั่นพื้นฐานกับสารเพิ่มคุณภาพเพื่อให้มีความเหมาะสมในการใช้งานน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานเป็นส่วนที่แยกจากหอกลั่นน้ำมันบรรยากาศต้องการออกโดยวิธีการผ่านกระบวนการต่าง ๆ แล้วเติมสารเพิ่มคุณภาพให้เป็นน้ำมันเกียร์และน้ำมันสุญญากาศหลังจากนั้นจึงทำให้น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานบริสุทธิ์มีคุณภาพที่ดีขึ้นโดยการสกัดแยกส่วนที่เฟือง


9.1.2 สารเพิ่มคุณภาพน้ำมันเกียร์

        สารเพิ่มคุณภาพที่ผสมอยู่ในน้ำมันเกียร์และจาระบีจะมีผลในการนำน้ำมันเกียร์และจาระบีไปใช้งานซึ่งสารเคมีเพิ่มคุณภาพที่ผสม ได้แก่ สารรับแรงกดแรงกระแทก EP (Extreme Pressure Additive) สารป้องกันสนิมสารป้องกันการกัดกร่อน ฯลฯ หากเป็นน้ำมันเกียร์และจาระบีชนิดที่ใช้ในงานพิเศษบางชนิดอาจจะผสมสารหล่อลื่นอื่นลงไปในจาระบีด้วยเช่นโมลิบดินัมไดซัลไฟและแกรไฟต์ที่เป็นสารหล่อลื่นชนิดผงละเอียดเกาะผิวชิ้นงานได้ดีมีคุณสมบัติในการหล่อลื่นฉุกเฉินได้ดี

 9.1.3 คุณสมบัติน้ำมันเกลี้ยงและน้ำมันเฟืองท้าย 

ความฝืดที่ความอยู่ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติระหว่างวัตถุ 2 ชิ้นที่กระทำร่วมกันและความฝืดนี้จะเป็นตัวตัวที่ทำให้เกิดความฝืดอันเนื่องมาจากการขบกันและความผิดความฝืดที่เกิดทำให้เกิดความสึกหรอผิวของฟันอันเนื่องมาจากการหมุนผิวหน้าของฟันเฟมีผลทำให้มีความฝืดมากและทำให้เกิดควาหล่อลื่นดังต่อไปนี้ะมีความเร็วในการเลื่อนตัวมากจะจึงมีการพัฒนาน้ำมันเกียร์ให้เหมาะสมในการ

 1. คุณสมบัติทางความทนีดที่เหมาะสม

โดยทั่วไปน้ำมันเกียร์ที่มีความหนืดสูงจะมีผลในด้านป้องกันความเสียหายของเฟืองลูกปืนเสียงดังและการรั่วของน้ำมันอย่างไรก็ตามความหนืดจะมีผลต่อการสตาร์ทเครื่องยนต์และความรู้สึกในการเข้าเกียร์ธรรมดาขณะที่อุณหภูมิต่ำดังนั้นจึงควรรู้ที่มีความหนืดที่เหมาะสมค่าความหนืดของน้ำมันเกียร์จะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลงและทำให้การไหลของมันยากดังนั้นน้ำมันที่มีการเปลี่ยนแปลงความหนืดเพียงเล็กน้อยตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิจึงเป็นสิ่งที่ต้องการนนนน

 2. คุณสมบัติบดในการต้านทานแรงกดกระแทก

คุณสมบัตินี้มีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับน้ำมันเกียร์และน้ำมันเฟืองท้ายที่กำหนดเอาไว้ใช้ในสภาวะที่มีการหล่อลื่นกึ่งสมบูรณ์และใช้ในสภาวะที่มีแรงกดกระแทกมากซึ่งจะก่อให้เกิดการเสียดสีที่รุนแรงและในสภาวะที่มีอุณหภูมิสูงคุณสมบัตินี้ได้มาจากการเติมสาร EP (Extreme Pressure) ซึ่งสาร EP จะแตกตัวออกมาจากกำมะถันคลอรีนฟอสฟอรัสและไอโอดีนสาร EP จะช่วยเคลือบผิวของโลหะที่เกิดจากการเสียดสีกันสาร EP มีคุณสมบัติทนต่อแรงกดกระแทกและทนต่อความร้อนได้สูงมากสาร EP ประกอบด้วยสารประกอบของกำมะถันหรือฟอสฟอรัสเลคแนพรีเนตเลดโซฟและโพลาร์แฟตตี้ออยล์เมื่อน้ำมันเกียร์เอ 3. คุณสมบัติในการต้านทานความร้อนและการรวมตัวกับออกซิเจนเกียร์

เมื่อน้ำมันเกียร์เสื่อมลงอันเนื่องมาจากความร้อนและการรวมตัวกับออกซิเจนตะกอนและกรดจะก่อตัวขึ้นทำให้ความหนืดของน้ำมันเกียร์เพิ่มขึ้นการหล่อลื่นไม่สมบูรณ์ตะกอนที่มีความแข็งอาจทำหมุนมากขึ้นอีกอย่างหนึ่งกรคที่เกิดขึ้นเพิ่มขึ้นจะทำให้ความสามารถในการระบายความร้อนของน้ำมันความเสียหายให้กับชิ้นส่วนโดยการเกาะยึดติดกับผิวของฟันเฟืองและลูกปืนความหนืดของน้ำมันเกียร์ที่องน้ำมันเกียร์ลดลงและเกิดความต้านทานการดที่เกิดขึ้นก็จะเป็นสาเหตุของการกัดกร่อน

 4. คุณสมบัติในการป้องกันการเกิดฟองในน้ำมันเกียร์

การเกิดฟองในน้ำมันเกียร์และในน้ำมันเฟืองท้ายนับว่าเป็นสิ่งไม่พึงประสงค์ของการหล่อลื่นเพราะจะทำให้ประสิทธิภาพในการหล่อลื่นลดลงดังนั้นมีความจำเป็นที่จะต้องเติมสารซิลิโคลนโพลีเมหรือโพลีเมทิลไซไลแชนลงไปเพื่อป้องกันการเกิดฟองในน้ำมัน

9.2มาตรฐานน้ำมันเกียร์และน้ำมันเฟืองท้าย

 9.2.1 มาตรฐานน้ำมันเกียร์และน้ำมันเฟืองท้าย

     มาตรฐานน้ำมันเกียร์กับน้ำมันเฟืองท้ายนิยมใช้มาตรฐานเดียวกันกับมาตรฐานน้ำมันเครื่องดัง 8 คือมาตรฐาน SAE และมาตรฐาน API ส่วนมาตรฐาน ISO ยังไม่ได้ใช้กันแพร่หลาย 

      1. น้ำมันเกียร์และน้ำมันเฟืองท้ายตามมาตรฐาน SAE      

           สมาคมวิศวกรยานยนต์แห่งสหรัฐอเมริกา (SAE) ได้กำหนดมาตรฐานความหนืดของน้ำมันเกียร์และน้ำมันเฟืองท้ายโดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือชนิดเกรดเดี่ยว (Single Grade) และชนิดเกรดรวม (Multi grade) เช่นเดียวกับน้ำมันเครื่องมี 6 เกรดคือ SAE 75W 80W 85W 90 140 และ 250 แต่ในประเทศไทยอุณหภูมิธรรมชาติร้อนเกือบคงที่ทั้งปีรถยนต์ขับหลังทั่วไปควรใช้น้ำมันเกียร์เกรดเดี่ยว SAE 90 ส่วนน้ำมันเฟืองท้ายใช้น้ำมันเกียร์เกรดเดี่ยว SAE 140 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคู่มือใช้รถที่กำหนดให้เป็นสำคัญ 

2. น้ำมันเกียร์และน้ำมันเฟืองท้ายตามมาตรฐาน API

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น